ชื่อเรื่อง :
ชื่อไฟล์ : คนเราถ้าขัดสนเงินทองก็ต้องกู้เป็นหนี้เขาแต่เขาอาจจะไม่ยอมให้กู้ถ้าไม่มีอะไรเป็นหลักประกันให้ความมั่นใจว่าเขาจะได้รับชำระหนี้คืนค้ำประกันก็เป็นหลักประกันอันหนึ่ง ค้ำประกันคือการใครคนหนึ่งทำสัญญากับเจ้าหนี้ว่าถ้าลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ผู้ค้ำประกันจะชำระหนี้นั้นแทนเมื่อลูกหนี้ไม่ชำระหนี้เจ้าหนี้ก็ย่อมมีสิทธิรียกร้องหรือฟ้องให้ค้ำประกันรับผิดได้
การที่จะฟ้องให้ผู้ค้ำประกันรับผิดตามสัญญาค้ำประกันได้นั้นจะต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ค้ำประกันเป็นสำคัญมิใช่ตกลงกันด้วยปากเปล่าซึ่งฟ้องไม่ได้ตามธรรมดาถ้าทำสัญญาค้ำประกันตามแบบซึ่งมีขายอยู่ทั่วไปก็ไม่ค่อยมีปัญหาเพราะเป็นแบบซึ่งทำโดยผู้รู้กฎหมายแต่ถ้าทำกันเองก็อาจเกิดปัญหาได้ ถ้าเราเป็นเจ้าหนี้ก็ต้องระมัดระวังในข้อนี้ในเอกสารนั้นต้องมีข้อความอันเป็นสาระสำคัญว่า ถ้าลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ผู้ค้ำประกันจะชำระหนี้แทนมิฉะนั้นอาจฟ้องผู้ค้ำประกันไม่ได้เพราะไม่ใช้เป็นสัญญาค้ำประกันตามกฎหมาย
ขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ำประกัน :
เมื่อจำกัดความรับผิดไว้แล้วก็รับผิดเท่าที่จำกัดไว้แต้ถ้าไม่จำกัดความรับผิดเมื่อลูกหนี้ผิดสัญญาต่อเจ้าหนี้ไม่ชำระเงินหรือค่าเสียหายมากน้อยเพยงใดผู้ค้ำประกันก็ต้องรับผิดเมื่อลูกหนี้ผิดสัญญาต่อเจ้าหนี้ไม่ชำระเงินหรือค่าเสียหายมากน้อยเพียงใดผู้ค้ำประกันก็ต้องรับผิดจนสิ้นเชิงเช่นเดียวกับลูกหนี้ทุกอย่างเมื่อทำสัญญาค้ำประกันแล้วผู้ค้ำประกันต้องผูกผันตามสัญญานั้นเจ้าหนี้มีสิทธิเรียกร้องหรือฟ้องให้รับผิดได้ เมื่อลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ตามกำหนด
สิทธิของผู้ค้ำประกัน :
(1) เมื่อผู้ค้ำประกันถูกเรียกร้องให้ชำระแทนลูกหนี้มิใช้ผู้ค้ำประกันต้องชำระหนี้ทันทีแต่มีสิทธิที่จะเกี่ยงให้เจ้าหนี้ไปเรียกร้องเอาจากลูกหนี้ได้ทั้งนี้ภายใต้ข้อยกเว้นบางประการและถ้าเจ้าหนี้ฟ้องเป็นจำเลยร่วมกับลูกหนี้ก็ยังมีสิทธิพิสูจน์ต่อศาลว่าลูกหนี้มีทรัพย์สินชำระหนี้ได้และการที่บังคับเอาจากลูกหนี้นั้นศาลก็ต้องบังคับเอาจากทรัพย์สินของลูกหนี้ก่อนเพราะหนี้ที่ผู้ค้ำประกันต้องชำระมิใช้ป็นหนี้ของผู้ค้ำประกันเองผู้ค้ำประกันเป็นลูกหนี้ชั้นที่สอง
บางกรณีเจ้าหนี้เอาเปรียบลูกหนี้และผู้ค้ำประกัน ในสัญญาสำเร็จรูป จะมีความว่า “ให้ผู้ค้ำประกันยอมรับผิดร่วมกับลูกหนี้” คือลูกหนี้ร่วมเท่ากับให้ผู้ค้ำประกันรับผิดหนักขึ้นดังนั้นก่อนเซ็นสัญญาค้ำประกันจึงต้องพิจารณาว่าจะยอมรับผิดเช่นนั้นหรือไม่ถ้ายอมรับผิดร่วมกับลูกหนี้ก็ไม่มีสิทธิที่จะเกี่ยงดังกล่าวข้างต้น
(2) เมื่อมีผู้ค้ำประกันชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้แล้ว ไม่ว่าจะชำระแต่โดยดีหรือชำระหนี้โดยถูกบังคับคำพิพากษาผู้ค้ำประกันก็มีสิทธิรับช่วงสิทธิของเจ้าหนี้ในอันที่จะเรียกเอาเงินชำระให้เจ้าหนี้ใช้แล้วนั้นคืนจากลูกหนี้ได้ตามจำนวนที่ชำระไปตลอดจนค่าเสียหายต่างๆเนื่องจากการค้ำประกัน
การเป็นผู้ค้ำประกันนั้นมีแต่เสียตามคำพังเพยที่ว่าเนื้อไม่ได้กินหนังไม่ได้รองนั่ง มีแต่เอากระดูกมาแขวนคอเพราะฉะนั้นก่อนที่จะเซ็นชื่อในสัญญาค้ำประกันต้องพิจารณาตัวลูกหนี้ซึ่งผู้ค้ำประกันจะชำระหนี้แทนให้ดีว่ามีความสามารถชำระหนี้ให้เจ้าหนี้ได้แค่ไหนและมีการซื่อสัตย์สุจริตเพียงใดทั้งต้องพิจารณาข้อความในสัญญาให้รอบคอบ บางที่กำหนดให้ผู้ค้ำประกันรับผิดหนักขึ้นหรือสละสิทธิบางอย่างอันอาจทำให้ไล่เบี้ยเอาจากลูกหนี้ไม่ได้เมื่อเข้าใจข้อความในสัญญาดีแล้วจึงค่อยลงชื่อในสัญญาค้ำประกัน
การพ้นความรับผิดของผู้ค้ำประกัน :
เมื่อเซ็นชื่อในสัญญาแล้วผู้ค้ำประกันก็มีภาระต้องรับผิดต่อเจ้าหนี้จนกว่าหนี้ของลูกหนี้จะระงับไปตราบใดที่หนี้ของลูกหนี้ยังมีอยู่ผู้ค้ำประกันก็ไม่พ้นความรับผิดแต่มีพฤติการณ์บางอย่าง ที่กฎหมายกำหนดไว้ให้ผู้ค้ำประกันพ้นความรับผิด
(1) เจ้าหนี้ผ่อนเวลาให้แก่ลูกหนี้คือถ้าได้กำหนดวันชำระหนี้ไว้แน่นอนแล้ว เจ้าหนี้ยืดเวลาผู้ค้ำประกันจะไม่กำจัดความรับผิดของตนไว้ในสัญญาค้ำประกันด้วยก็ได้ถ้าไม่ต้องการรับผิดอะไรบ้าง หรือต้องการจำกัดขอบเขตความรับผิดไว้เพียงใดก็ต้องระบุในสัญญาให้ชัดเจน เช่น ลูกหนี้กู้เงินเจ้าหนี้ 100,000 บาทอัตราเงินดอกเบี้ยร้อยละ 15 ต่อปีผู้ค้ำประกันจะกำจัดความรับผิดเฉพาะกรณีที่บุคคลนั้นทำความเสียหายเนื่องจากทุจริตต่อหน้าที่ไม่รวมถึงประมาทเลินเล่อด้วยต่อไปอีกผู้ค้ำประกันก็พ้นความรับผิด
(2) เมื่อหนี้ของลูกหนี้ถึงกำหนดชำระแล้วผู้ค้ำประกันเอาเงินไปชำระให้แก่เจ้าหนี้แต่เจ้าหนี้ไม่ยอมรับโดยไม่มีเหตุอันจะอ้างกฎหมายได้ผู้ค้ำประกันก็หลุดพ้นจากความรับผิดเช่นเดียวกัน
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: คนเราถ้าขัดสนเงินทองก็ต้องกู้เป็นหนี้เขาแต่เขาอาจจะไม่ยอมให้กู้ถ้าไม่มีอะไรเป็นหลักประกันให้ความมั่นใจว่าเขาจะได้รับชำระหนี้คืนค้ำประกันก็เป็นหลักประกันอันหนึ่ง ค้ำประกันคือการใครคนหนึ่งทำสัญญากับเจ้าหนี้ว่าถ้าลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ผู้ค้ำประกันจะชำระหนี้นั้นแทนเมื่อลูกหนี้ไม่ชำระหนี้เจ้าหนี้ก็ย่อมมีสิทธิรียกร้องหรือฟ้องให้ค้ำประกันรับผิดได้
การที่จะฟ้องให้ผู้ค้ำประกันรับผิดตามสัญญาค้ำประกันได้นั้นจะต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ค้ำประกันเป็นสำคัญมิใช่ตกลงกันด้วยปากเปล่าซึ่งฟ้องไม่ได้ตามธรรมดาถ้าทำสัญญาค้ำประกันตามแบบซึ่งมีขายอยู่ทั่วไปก็ไม่ค่อยมีปัญหาเพราะเป็นแบบซึ่งทำโดยผู้รู้กฎหมายแต่ถ้าทำกันเองก็อาจเกิดปัญหาได้ ถ้าเราเป็นเจ้าหนี้ก็ต้องระมัดระวังในข้อนี้ในเอกสารนั้นต้องมีข้อความอันเป็นสาระสำคัญว่า ถ้าลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ผู้ค้ำประกันจะชำระหนี้แทนมิฉะนั้นอาจฟ้องผู้ค้ำประกันไม่ได้เพราะไม่ใช้เป็นสัญญาค้ำประกันตามกฎหมาย
ขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ำประกัน :
เมื่อจำกัดความรับผิดไว้แล้วก็รับผิดเท่าที่จำกัดไว้แต้ถ้าไม่จำกัดความรับผิดเมื่อลูกหนี้ผิดสัญญาต่อเจ้าหนี้ไม่ชำระเงินหรือค่าเสียหายมากน้อยเพยงใดผู้ค้ำประกันก็ต้องรับผิดเมื่อลูกหนี้ผิดสัญญาต่อเจ้าหนี้ไม่ชำระเงินหรือค่าเสียหายมากน้อยเพียงใดผู้ค้ำประกันก็ต้องรับผิดจนสิ้นเชิงเช่นเดียวกับลูกหนี้ทุกอย่างเมื่อทำสัญญาค้ำประกันแล้วผู้ค้ำประกันต้องผูกผันตามสัญญานั้นเจ้าหนี้มีสิทธิเรียกร้องหรือฟ้องให้รับผิดได้ เมื่อลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ตามกำหนด
สิทธิของผู้ค้ำประกัน :
(1) เมื่อผู้ค้ำประกันถูกเรียกร้องให้ชำระแทนลูกหนี้มิใช้ผู้ค้ำประกันต้องชำระหนี้ทันทีแต่มีสิทธิที่จะเกี่ยงให้เจ้าหนี้ไปเรียกร้องเอาจากลูกหนี้ได้ทั้งนี้ภายใต้ข้อยกเว้นบางประการและถ้าเจ้าหนี้ฟ้องเป็นจำเลยร่วมกับลูกหนี้ก็ยังมีสิทธิพิสูจน์ต่อศาลว่าลูกหนี้มีทรัพย์สินชำระหนี้ได้และการที่บังคับเอาจากลูกหนี้นั้นศาลก็ต้องบังคับเอาจากทรัพย์สินของลูกหนี้ก่อนเพราะหนี้ที่ผู้ค้ำประกันต้องชำระมิใช้ป็นหนี้ของผู้ค้ำประกันเองผู้ค้ำประกันเป็นลูกหนี้ชั้นที่สอง
บางกรณีเจ้าหนี้เอาเปรียบลูกหนี้และผู้ค้ำประกัน ในสัญญาสำเร็จรูป จะมีความว่า “ให้ผู้ค้ำประกันยอมรับผิดร่วมกับลูกหนี้” คือลูกหนี้ร่วมเท่ากับให้ผู้ค้ำประกันรับผิดหนักขึ้นดังนั้นก่อนเซ็นสัญญาค้ำประกันจึงต้องพิจารณาว่าจะยอมรับผิดเช่นนั้นหรือไม่ถ้ายอมรับผิดร่วมกับลูกหนี้ก็ไม่มีสิทธิที่จะเกี่ยงดังกล่าวข้างต้น
(2) เมื่อมีผู้ค้ำประกันชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้แล้ว ไม่ว่าจะชำระแต่โดยดีหรือชำระหนี้โดยถูกบังคับคำพิพากษาผู้ค้ำประกันก็มีสิทธิรับช่วงสิทธิของเจ้าหนี้ในอันที่จะเรียกเอาเงินชำระให้เจ้าหนี้ใช้แล้วนั้นคืนจากลูกหนี้ได้ตามจำนวนที่ชำระไปตลอดจนค่าเสียหายต่างๆเนื่องจากการค้ำประกัน
การเป็นผู้ค้ำประกันนั้นมีแต่เสียตามคำพังเพยที่ว่าเนื้อไม่ได้กินหนังไม่ได้รองนั่ง มีแต่เอากระดูกมาแขวนคอเพราะฉะนั้นก่อนที่จะเซ็นชื่อในสัญญาค้ำประกันต้องพิจารณาตัวลูกหนี้ซึ่งผู้ค้ำประกันจะชำระหนี้แทนให้ดีว่ามีความสามารถชำระหนี้ให้เจ้าหนี้ได้แค่ไหนและมีการซื่อสัตย์สุจริตเพียงใดทั้งต้องพิจารณาข้อความในสัญญาให้รอบคอบ บางที่กำหนดให้ผู้ค้ำประกันรับผิดหนักขึ้นหรือสละสิทธิบางอย่างอันอาจทำให้ไล่เบี้ยเอาจากลูกหนี้ไม่ได้เมื่อเข้าใจข้อความในสัญญาดีแล้วจึงค่อยลงชื่อในสัญญาค้ำประกัน
การพ้นความรับผิดของผู้ค้ำประกัน :
เมื่อเซ็นชื่อในสัญญาแล้วผู้ค้ำประกันก็มีภาระต้องรับผิดต่อเจ้าหนี้จนกว่าหนี้ของลูกหนี้จะระงับไปตราบใดที่หนี้ของลูกหนี้ยังมีอยู่ผู้ค้ำประกันก็ไม่พ้นความรับผิดแต่มีพฤติการณ์บางอย่าง ที่กฎหมายกำหนดไว้ให้ผู้ค้ำประกันพ้นความรับผิด
(1) เจ้าหนี้ผ่อนเวลาให้แก่ลูกหนี้คือถ้าได้กำหนดวันชำระหนี้ไว้แน่นอนแล้ว เจ้าหนี้ยืดเวลาผู้ค้ำประกันจะไม่กำจัดความรับผิดของตนไว้ในสัญญาค้ำประกันด้วยก็ได้ถ้าไม่ต้องการรับผิดอะไรบ้าง หรือต้องการจำกัดขอบเขตความรับผิดไว้เพียงใดก็ต้องระบุในสัญญาให้ชัดเจน เช่น ลูกหนี้กู้เงินเจ้าหนี้ 100,000 บาทอัตราเงินดอกเบี้ยร้อยละ 15 ต่อปีผู้ค้ำประกันจะกำจัดความรับผิดเฉพาะกรณีที่บุคคลนั้นทำความเสียหายเนื่องจากทุจริตต่อหน้าที่ไม่รวมถึงประมาทเลินเล่อด้วยต่อไปอีกผู้ค้ำประกันก็พ้นความรับผิด
(2) เมื่อหนี้ของลูกหนี้ถึงกำหนดชำระแล้วผู้ค้ำประกันเอาเงินไปชำระให้แก่เจ้าหนี้แต่เจ้าหนี้ไม่ยอมรับโดยไม่มีเหตุอันจะอ้างกฎหมายได้ผู้ค้ำประกันก็หลุดพ้นจากความรับผิดเช่นเดียวกัน ../add_file/ คนเราถ้าขัดสนเงินทองก็ต้องกู้เป็นหนี้เขาแต่เขาอาจจะไม่ยอมให้กู้ถ้าไม่มีอะไรเป็นหลักประกันให้ความมั่นใจว่าเขาจะได้รับชำระหนี้คืนค้ำประกันก็เป็นหลักประกันอันหนึ่ง ค้ำประกันคือการใครคนหนึ่งทำสัญญากับเจ้าหนี้ว่าถ้าลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ผู้ค้ำประกันจะชำระหนี้นั้นแทนเมื่อลูกหนี้ไม่ชำระหนี้เจ้าหนี้ก็ย่อมมีสิทธิรียกร้องหรือฟ้องให้ค้ำประกันรับผิดได้
การที่จะฟ้องให้ผู้ค้ำประกันรับผิดตามสัญญาค้ำประกันได้นั้นจะต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้ค้ำประกันเป็นสำคัญมิใช่ตกลงกันด้วยปากเปล่าซึ่งฟ้องไม่ได้ตามธรรมดาถ้าทำสัญญาค้ำประกันตามแบบซึ่งมีขายอยู่ทั่วไปก็ไม่ค่อยมีปัญหาเพราะเป็นแบบซึ่งทำโดยผู้รู้กฎหมายแต่ถ้าทำกันเองก็อาจเกิดปัญหาได้ ถ้าเราเป็นเจ้าหนี้ก็ต้องระมัดระวังในข้อนี้ในเอกสารนั้นต้องมีข้อความอันเป็นสาระสำคัญว่า ถ้าลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ผู้ค้ำประกันจะชำระหนี้แทนมิฉะนั้นอาจฟ้องผู้ค้ำประกันไม่ได้เพราะไม่ใช้เป็นสัญญาค้ำประกันตามกฎหมาย
ขอบเขตความรับผิดของผู้ค้ำประกัน :
เมื่อจำกัดความรับผิดไว้แล้วก็รับผิดเท่าที่จำกัดไว้แต้ถ้าไม่จำกัดความรับผิดเมื่อลูกหนี้ผิดสัญญาต่อเจ้าหนี้ไม่ชำระเงินหรือค่าเสียหายมากน้อยเพยงใดผู้ค้ำประกันก็ต้องรับผิดเมื่อลูกหนี้ผิดสัญญาต่อเจ้าหนี้ไม่ชำระเงินหรือค่าเสียหายมากน้อยเพียงใดผู้ค้ำประกันก็ต้องรับผิดจนสิ้นเชิงเช่นเดียวกับลูกหนี้ทุกอย่างเมื่อทำสัญญาค้ำประกันแล้วผู้ค้ำประกันต้องผูกผันตามสัญญานั้นเจ้าหนี้มีสิทธิเรียกร้องหรือฟ้องให้รับผิดได้ เมื่อลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ตามกำหนด
สิทธิของผู้ค้ำประกัน :
(1) เมื่อผู้ค้ำประกันถูกเรียกร้องให้ชำระแทนลูกหนี้มิใช้ผู้ค้ำประกันต้องชำระหนี้ทันทีแต่มีสิทธิที่จะเกี่ยงให้เจ้าหนี้ไปเรียกร้องเอาจากลูกหนี้ได้ทั้งนี้ภายใต้ข้อยกเว้นบางประการและถ้าเจ้าหนี้ฟ้องเป็นจำเลยร่วมกับลูกหนี้ก็ยังมีสิทธิพิสูจน์ต่อศาลว่าลูกหนี้มีทรัพย์สินชำระหนี้ได้และการที่บังคับเอาจากลูกหนี้นั้นศาลก็ต้องบังคับเอาจากทรัพย์สินของลูกหนี้ก่อนเพราะหนี้ที่ผู้ค้ำประกันต้องชำระมิใช้ป็นหนี้ของผู้ค้ำประกันเองผู้ค้ำประกันเป็นลูกหนี้ชั้นที่สอง
บางกรณีเจ้าหนี้เอาเปรียบลูกหนี้และผู้ค้ำประกัน ในสัญญาสำเร็จรูป จะมีความว่า “ให้ผู้ค้ำประกันยอมรับผิดร่วมกับลูกหนี้” คือลูกหนี้ร่วมเท่ากับให้ผู้ค้ำประกันรับผิดหนักขึ้นดังนั้นก่อนเซ็นสัญญาค้ำประกันจึงต้องพิจารณาว่าจะยอมรับผิดเช่นนั้นหรือไม่ถ้ายอมรับผิดร่วมกับลูกหนี้ก็ไม่มีสิทธิที่จะเกี่ยงดังกล่าวข้างต้น
(2) เมื่อมีผู้ค้ำประกันชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้แล้ว ไม่ว่าจะชำระแต่โดยดีหรือชำระหนี้โดยถูกบังคับคำพิพากษาผู้ค้ำประกันก็มีสิทธิรับช่วงสิทธิของเจ้าหนี้ในอันที่จะเรียกเอาเงินชำระให้เจ้าหนี้ใช้แล้วนั้นคืนจากลูกหนี้ได้ตามจำนวนที่ชำระไปตลอดจนค่าเสียหายต่างๆเนื่องจากการค้ำประกัน
การเป็นผู้ค้ำประกันนั้นมีแต่เสียตามคำพังเพยที่ว่าเนื้อไม่ได้กินหนังไม่ได้รองนั่ง มีแต่เอากระดูกมาแขวนคอเพราะฉะนั้นก่อนที่จะเซ็นชื่อในสัญญาค้ำประกันต้องพิจารณาตัวลูกหนี้ซึ่งผู้ค้ำประกันจะชำระหนี้แทนให้ดีว่ามีความสามารถชำระหนี้ให้เจ้าหนี้ได้แค่ไหนและมีการซื่อสัตย์สุจริตเพียงใดทั้งต้องพิจารณาข้อความในสัญญาให้รอบคอบ บางที่กำหนดให้ผู้ค้ำประกันรับผิดหนักขึ้นหรือสละสิทธิบางอย่างอันอาจทำให้ไล่เบี้ยเอาจากลูกหนี้ไม่ได้เมื่อเข้าใจข้อความในสัญญาดีแล้วจึงค่อยลงชื่อในสัญญาค้ำประกัน
การพ้นความรับผิดของผู้ค้ำประกัน :
เมื่อเซ็นชื่อในสัญญาแล้วผู้ค้ำประกันก็มีภาระต้องรับผิดต่อเจ้าหนี้จนกว่าหนี้ของลูกหนี้จะระงับไปตราบใดที่หนี้ของลูกหนี้ยังมีอยู่ผู้ค้ำประกันก็ไม่พ้นความรับผิดแต่มีพฤติการณ์บางอย่าง ที่กฎหมายกำหนดไว้ให้ผู้ค้ำประกันพ้นความรับผิด
(1) เจ้าหนี้ผ่อนเวลาให้แก่ลูกหนี้คือถ้าได้กำหนดวันชำระหนี้ไว้แน่นอนแล้ว เจ้าหนี้ยืดเวลาผู้ค้ำประกันจะไม่กำจัดความรับผิดของตนไว้ในสัญญาค้ำประกันด้วยก็ได้ถ้าไม่ต้องการรับผิดอะไรบ้าง หรือต้องการจำกัดขอบเขตความรับผิดไว้เพียงใดก็ต้องระบุในสัญญาให้ชัดเจน เช่น ลูกหนี้กู้เงินเจ้าหนี้ 100,000 บาทอัตราเงินดอกเบี้ยร้อยละ 15 ต่อปีผู้ค้ำประกันจะกำจัดความรับผิดเฉพาะกรณีที่บุคคลนั้นทำความเสียหายเนื่องจากทุจริตต่อหน้าที่ไม่รวมถึงประมาทเลินเล่อด้วยต่อไปอีกผู้ค้ำประกันก็พ้นความรับผิด
(2) เมื่อหนี้ของลูกหนี้ถึงกำหนดชำระแล้วผู้ค้ำประกันเอาเงินไปชำระให้แก่เจ้าหนี้แต่เจ้าหนี้ไม่ยอมรับโดยไม่มีเหตุอันจะอ้างกฎหมายได้ผู้ค้ำประกันก็หลุดพ้นจากความรับผิดเช่นเดียวกัน
ชื่อไฟล์ : แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับจ้างเหมาจัดเตรียมสถานที่โครงการแข่งขันฟุตซอล
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับจ้างเหมาจัดเตรียมสถานที่โครงการแข่งขันฟุตซอล../add_file/แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับจ้างเหมาจัดเตรียมสถานที่โครงการแข่งขันฟุตซอล
ชื่อไฟล์ : ตัวอย่างเอกสาร online
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: ตัวอย่างเอกสาร online../add_file/ตัวอย่างเอกสาร online
ชื่อไฟล์ : ตัวอย่างเอกสาร online
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: ตัวอย่างเอกสาร online../add_file/ตัวอย่างเอกสาร online
ชื่อไฟล์ : ข้อมูลระบบ
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: ข้อมูลระบบ../add_file/ข้อมูลระบบ
ชื่อไฟล์ : บทความใหม่
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: บทความใหม่../add_file/บทความใหม่
ชื่อไฟล์ : ตัวอย่างเอกสาร online
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: ตัวอย่างเอกสาร online../add_file/ตัวอย่างเอกสาร online
ชื่อไฟล์ : {$Duration:1200,$Opacity:2}
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: {$Duration:1200,$Opacity:2}../add_file/{$Duration:1200,$Opacity:2}
ชื่อไฟล์ : FM5StIFSun31114.jpg
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์ : iPKHrNfFri112159.pdf
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์ :
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: ../add_file/
ชื่อไฟล์ : “ดงหลวงถิ่นวัฒนธรรมไทบรู ผู้คนสดใส อนามัยพร้อม นอบน้อมบริการ บริหารโปร่งใส”
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: “ดงหลวงถิ่นวัฒนธรรมไทบรู ผู้คนสดใส อนามัยพร้อม นอบน้อมบริการ บริหารโปร่งใส”../add_file/ “ดงหลวงถิ่นวัฒนธรรมไทบรู ผู้คนสดใส อนามัยพร้อม นอบน้อมบริการ บริหารโปร่งใส”
ชื่อไฟล์ : ขอข้อมูล
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: ขอข้อมูล../add_file/ขอข้อมูล
ชื่อไฟล์ : เข้ามาเยี่ยมชมครับ
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: เข้ามาเยี่ยมชมครับ../add_file/เข้ามาเยี่ยมชมครับ
ชื่อไฟล์ :
รอปรับปรุง ใหม่
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์:
รอปรับปรุง ใหม่
../add_file/
รอปรับปรุง ใหม่
ชื่อไฟล์ :
รอปรับปรุง
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์:
รอปรับปรุง
../add_file/
รอปรับปรุง
ชื่อไฟล์ : w3-animate-opacity
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: w3-animate-opacity../add_file/w3-animate-opacity
ชื่อไฟล์ :
รอปรับปรุง
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์:
รอปรับปรุง
../add_file/
รอปรับปรุง
ชื่อไฟล์ :
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์:
../add_file/
ชื่อไฟล์ :
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์:
../add_file/
ชื่อไฟล์ :
" class="w3-tag w3-theme-d4 w3-round w3-margin">
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์:
../add_file/
ชื่อไฟล์ : 2
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: 2../add_file/2
ชื่อไฟล์ : 2
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: 2../add_file/2
ชื่อไฟล์ : 2
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: 2../add_file/2
ชื่อไฟล์ : 1
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: 1../add_file/1
ชื่อไฟล์ : xnqXmBiWed93649.pdf
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้
ชื่อไฟล์ :
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: ../add_file/
ชื่อไฟล์ :
สถานที่ท่องเที่ยว2234dsfasf
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์:
สถานที่ท่องเที่ยว2234dsfasf
../add_file/
สถานที่ท่องเที่ยว2234dsfasf
ชื่อไฟล์ : ทดสอบ
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: ทดสอบ../add_file/ทดสอบ
ชื่อไฟล์ : เราเป็นผู้พัฒนาเว็บไซต์ให้ใช้งานง่าย ด้วยระบบ easyweb ใช้งานง่าย พร้อมแสดงได้ในแทบเล็ต และมือถือ
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: เราเป็นผู้พัฒนาเว็บไซต์ให้ใช้งานง่าย ด้วยระบบ easyweb ใช้งานง่าย พร้อมแสดงได้ในแทบเล็ต และมือถือ../add_file/เราเป็นผู้พัฒนาเว็บไซต์ให้ใช้งานง่าย ด้วยระบบ easyweb ใช้งานง่าย พร้อมแสดงได้ในแทบเล็ต และมือถือ
ชื่อไฟล์ : สภาพทั่วไป
เทศบาลตำบลดงหลวง เป็นเทศบาล ๑ ใน ๓ เทศบาลตำบลดงหลวง ได้รับการยกฐานขึ้นเป็น เทศบาลตำบลดงหลวง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยและมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๒ และสำนักงานเทศบาลตำบลดงหลวง ตั้งอยู่หมู่ที่ ๓ บ้านดงหลวง อำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร เป็นเทศบาลขนาดเล็ก ต่อมาได้เป็นเทศบาลขนาดกลาง เมื่อวันที่ ๔ กันยายน ๒๕๕๗ อยู่ทางทิศเหนือของอำเภอดงหลวง โดยห่างจากอำเภอดงหลวง ประมาณ ๘๐๐ เมตร ห่างจากจังหวัดมุกดาหาร ประมาณ ๕๘ กิโลเมตรและห่างจากกรุงเทพมหานคร ๖๔๓ กิโลเมตรและมีประวัติการตั้งถิ่นฐานมานานหลายปีมีชนเผ่าพื้นเมือง คือไทกะโซ่ ส่วนใหญ่มีวัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของกลุ่มชนที่ถือปฏิบัติกันมาจากบรรพบุรุษ ตามความเชื่อของชนเผ่า เช่น โซ่ทั่งบั้ง พิธีเหยา พิธีซางกระพูด เป็นต้น ซึ่งเป็นสิ่งภาคภูมิใจในเอกลักษณ์ของชาวกะโซ่ยิ่งนัก
ในอดีต ประมาณ ๑๘๖ ปีก่อน ในสมัยราชการที่ ๒ เมื่อประมาณ พ.ศ.๒๓๕๙ ชาวไทยกะโซ่กลุ่มหนึ่งซึ่งมีถิ่นฐานเดิมอยู่ฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง บริเวณเมืองมหาชัย ในแขวงคำม่วน แขวงสะหวันนะเขต ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในปัจจุบัน ได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานในภาคอีสานของประเทศไทย โดยการนำของ เพี้ยแก้ว นครอินทร์ ซึ่งเป็นบรรพบุรุษผู้นำไทยชาวกะโซ่ ได้เห็นว่าเป็นพื้นที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหารแวดล้อมไปด้วยที่ราบลุ่มเชิงเขา เหมาะสมในการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ เพื่อดำรงชีวิต จึงเรียกชื่อหมู่บ้านว่า บ้านดงหลวง และหัวหน้าชาวไทยกะโซ่ต่อมาได้เป็นกำนันตำบลดงหลวงคนแรกมีบรรดาศักดิ์ว่า “หลวงมโนไพรพฤกษ์” ชาวไทยกะโซ่ในท้องถิ่นส่วนมากใช้นามสกุลเดียวกันคือ วงค์กระโซ่ และโซ่เมืองแซะ ชาวกะโซ่หรือบางแห่งก็เรียกว่า “โซ่” หรือ “โส้” แต่ในพจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถาน “เขียนว่ากะโซ่” คำว่า กะโซ่มาจากคำว่า
“ข่าโซ่” หมายถึงข่าพวกหนึ่งในตระกูลเดียวกันกับพวกข่าหรือบูรและถือว่าเป็นเผ่าพันธุ์เดียวกันกับขอมโบราณและขอมเขมร กะโซ่ภาษาและขนบธรรมเนียมประเพณีแตกต่างจากพวกข่าทั่วไป ชาวกะโซ่อีกพวกที่อพยพมาจากแขวงอัตปือของลาวไปอยู่ในเขตจังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดสุรินทร์ เรียกว่าพวกส่วยหรือกุย พูดภาษาเดียวกับชาวกะโซ่ ชาวกะโซ่ที่อพยพข้ามโขงมาในสมัยรัฐกาลที่ ๓ ได้มาตั้ง
เมืองที่รามราช อยู่จังหวัดนครพนม เมืองกุสุมาลย์มณฑล อยู่จังหวัดสกลนคร
พิธีกรรมโซ่ทั่งบั้ง
เป็นภาษาชาวไทยอีสานเรียกชื่อพิธีกรรมของชาวกะโซ่ คำว่า “โซ่” หมายถึงพวกกะโว่ คำว่า ถั่ง/ทั่ง แปลว่ากระทุ้งหรือกระแทก คำว่า บั้ง หมายถึง บ้องหรือกระบอกไม้ไผ่ โซ่ทั้งบั้งก็คือการใช้กระบอกไม้ไผ่ยาวประมาณ ๓ ปล้องกระทุ้งดินเป็นจังหวะและมีผู้ร่ายรำและร้องรำไปตามจังหวะในพิธีกรรม “ของชาวกะโซ่”
พิธีเหยา
ในการรักษาคนป่วยหรือเรียกขวัญคล้ายๆกับพิธีกรรมของชาวอีสานทั่วไป เพื่อเป็นกำลังใจให้ผู้ป่วยหรือการเรียกขวัญ โดยหมอผีจะทำหน้าที่เป็นล่ามสอบถามวิญญาณของบรรพบุรุษ
ภาษาของชาวกะโซ่
ภาษาที่ชาวกะโซ่ใช้คือ ภาษาโซ่ บางทีก็เรียกว่า “ข่าโซ่” เป็นภาษาหนึ่งของตระกูลออสโตรเอเชียติกกลุ่มภาษามอญ/เขมร สาขากุตุ เช่น
ภาษาโซ่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
มะนะชิจัก กลิ่นตัว Body odour
โบย เมา Drunk
อะฮัก ไอ Cough
ฮูน ดม Sniff
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: สภาพทั่วไป
เทศบาลตำบลดงหลวง เป็นเทศบาล ๑ ใน ๓ เทศบาลตำบลดงหลวง ได้รับการยกฐานขึ้นเป็น เทศบาลตำบลดงหลวง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยและมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๒ และสำนักงานเทศบาลตำบลดงหลวง ตั้งอยู่หมู่ที่ ๓ บ้านดงหลวง อำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร เป็นเทศบาลขนาดเล็ก ต่อมาได้เป็นเทศบาลขนาดกลาง เมื่อวันที่ ๔ กันยายน ๒๕๕๗ อยู่ทางทิศเหนือของอำเภอดงหลวง โดยห่างจากอำเภอดงหลวง ประมาณ ๘๐๐ เมตร ห่างจากจังหวัดมุกดาหาร ประมาณ ๕๘ กิโลเมตรและห่างจากกรุงเทพมหานคร ๖๔๓ กิโลเมตรและมีประวัติการตั้งถิ่นฐานมานานหลายปีมีชนเผ่าพื้นเมือง คือไทกะโซ่ ส่วนใหญ่มีวัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของกลุ่มชนที่ถือปฏิบัติกันมาจากบรรพบุรุษ ตามความเชื่อของชนเผ่า เช่น โซ่ทั่งบั้ง พิธีเหยา พิธีซางกระพูด เป็นต้น ซึ่งเป็นสิ่งภาคภูมิใจในเอกลักษณ์ของชาวกะโซ่ยิ่งนัก
ในอดีต ประมาณ ๑๘๖ ปีก่อน ในสมัยราชการที่ ๒ เมื่อประมาณ พ.ศ.๒๓๕๙ ชาวไทยกะโซ่กลุ่มหนึ่งซึ่งมีถิ่นฐานเดิมอยู่ฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง บริเวณเมืองมหาชัย ในแขวงคำม่วน แขวงสะหวันนะเขต ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในปัจจุบัน ได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานในภาคอีสานของประเทศไทย โดยการนำของ เพี้ยแก้ว นครอินทร์ ซึ่งเป็นบรรพบุรุษผู้นำไทยชาวกะโซ่ ได้เห็นว่าเป็นพื้นที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหารแวดล้อมไปด้วยที่ราบลุ่มเชิงเขา เหมาะสมในการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ เพื่อดำรงชีวิต จึงเรียกชื่อหมู่บ้านว่า บ้านดงหลวง และหัวหน้าชาวไทยกะโซ่ต่อมาได้เป็นกำนันตำบลดงหลวงคนแรกมีบรรดาศักดิ์ว่า “หลวงมโนไพรพฤกษ์” ชาวไทยกะโซ่ในท้องถิ่นส่วนมากใช้นามสกุลเดียวกันคือ วงค์กระโซ่ และโซ่เมืองแซะ ชาวกะโซ่หรือบางแห่งก็เรียกว่า “โซ่” หรือ “โส้” แต่ในพจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถาน “เขียนว่ากะโซ่” คำว่า กะโซ่มาจากคำว่า
“ข่าโซ่” หมายถึงข่าพวกหนึ่งในตระกูลเดียวกันกับพวกข่าหรือบูรและถือว่าเป็นเผ่าพันธุ์เดียวกันกับขอมโบราณและขอมเขมร กะโซ่ภาษาและขนบธรรมเนียมประเพณีแตกต่างจากพวกข่าทั่วไป ชาวกะโซ่อีกพวกที่อพยพมาจากแขวงอัตปือของลาวไปอยู่ในเขตจังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดสุรินทร์ เรียกว่าพวกส่วยหรือกุย พูดภาษาเดียวกับชาวกะโซ่ ชาวกะโซ่ที่อพยพข้ามโขงมาในสมัยรัฐกาลที่ ๓ ได้มาตั้ง
เมืองที่รามราช อยู่จังหวัดนครพนม เมืองกุสุมาลย์มณฑล อยู่จังหวัดสกลนคร
พิธีกรรมโซ่ทั่งบั้ง
เป็นภาษาชาวไทยอีสานเรียกชื่อพิธีกรรมของชาวกะโซ่ คำว่า “โซ่” หมายถึงพวกกะโว่ คำว่า ถั่ง/ทั่ง แปลว่ากระทุ้งหรือกระแทก คำว่า บั้ง หมายถึง บ้องหรือกระบอกไม้ไผ่ โซ่ทั้งบั้งก็คือการใช้กระบอกไม้ไผ่ยาวประมาณ ๓ ปล้องกระทุ้งดินเป็นจังหวะและมีผู้ร่ายรำและร้องรำไปตามจังหวะในพิธีกรรม “ของชาวกะโซ่”
พิธีเหยา
ในการรักษาคนป่วยหรือเรียกขวัญคล้ายๆกับพิธีกรรมของชาวอีสานทั่วไป เพื่อเป็นกำลังใจให้ผู้ป่วยหรือการเรียกขวัญ โดยหมอผีจะทำหน้าที่เป็นล่ามสอบถามวิญญาณของบรรพบุรุษ
ภาษาของชาวกะโซ่
ภาษาที่ชาวกะโซ่ใช้คือ ภาษาโซ่ บางทีก็เรียกว่า “ข่าโซ่” เป็นภาษาหนึ่งของตระกูลออสโตรเอเชียติกกลุ่มภาษามอญ/เขมร สาขากุตุ เช่น
ภาษาโซ่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
มะนะชิจัก กลิ่นตัว Body odour
โบย เมา Drunk
อะฮัก ไอ Cough
ฮูน ดม Sniff ../add_file/ สภาพทั่วไป
เทศบาลตำบลดงหลวง เป็นเทศบาล ๑ ใน ๓ เทศบาลตำบลดงหลวง ได้รับการยกฐานขึ้นเป็น เทศบาลตำบลดงหลวง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยและมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๒ และสำนักงานเทศบาลตำบลดงหลวง ตั้งอยู่หมู่ที่ ๓ บ้านดงหลวง อำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร เป็นเทศบาลขนาดเล็ก ต่อมาได้เป็นเทศบาลขนาดกลาง เมื่อวันที่ ๔ กันยายน ๒๕๕๗ อยู่ทางทิศเหนือของอำเภอดงหลวง โดยห่างจากอำเภอดงหลวง ประมาณ ๘๐๐ เมตร ห่างจากจังหวัดมุกดาหาร ประมาณ ๕๘ กิโลเมตรและห่างจากกรุงเทพมหานคร ๖๔๓ กิโลเมตรและมีประวัติการตั้งถิ่นฐานมานานหลายปีมีชนเผ่าพื้นเมือง คือไทกะโซ่ ส่วนใหญ่มีวัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของกลุ่มชนที่ถือปฏิบัติกันมาจากบรรพบุรุษ ตามความเชื่อของชนเผ่า เช่น โซ่ทั่งบั้ง พิธีเหยา พิธีซางกระพูด เป็นต้น ซึ่งเป็นสิ่งภาคภูมิใจในเอกลักษณ์ของชาวกะโซ่ยิ่งนัก
ในอดีต ประมาณ ๑๘๖ ปีก่อน ในสมัยราชการที่ ๒ เมื่อประมาณ พ.ศ.๒๓๕๙ ชาวไทยกะโซ่กลุ่มหนึ่งซึ่งมีถิ่นฐานเดิมอยู่ฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง บริเวณเมืองมหาชัย ในแขวงคำม่วน แขวงสะหวันนะเขต ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวในปัจจุบัน ได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานในภาคอีสานของประเทศไทย โดยการนำของ เพี้ยแก้ว นครอินทร์ ซึ่งเป็นบรรพบุรุษผู้นำไทยชาวกะโซ่ ได้เห็นว่าเป็นพื้นที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหารแวดล้อมไปด้วยที่ราบลุ่มเชิงเขา เหมาะสมในการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ เพื่อดำรงชีวิต จึงเรียกชื่อหมู่บ้านว่า บ้านดงหลวง และหัวหน้าชาวไทยกะโซ่ต่อมาได้เป็นกำนันตำบลดงหลวงคนแรกมีบรรดาศักดิ์ว่า “หลวงมโนไพรพฤกษ์” ชาวไทยกะโซ่ในท้องถิ่นส่วนมากใช้นามสกุลเดียวกันคือ วงค์กระโซ่ และโซ่เมืองแซะ ชาวกะโซ่หรือบางแห่งก็เรียกว่า “โซ่” หรือ “โส้” แต่ในพจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถาน “เขียนว่ากะโซ่” คำว่า กะโซ่มาจากคำว่า
“ข่าโซ่” หมายถึงข่าพวกหนึ่งในตระกูลเดียวกันกับพวกข่าหรือบูรและถือว่าเป็นเผ่าพันธุ์เดียวกันกับขอมโบราณและขอมเขมร กะโซ่ภาษาและขนบธรรมเนียมประเพณีแตกต่างจากพวกข่าทั่วไป ชาวกะโซ่อีกพวกที่อพยพมาจากแขวงอัตปือของลาวไปอยู่ในเขตจังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดสุรินทร์ เรียกว่าพวกส่วยหรือกุย พูดภาษาเดียวกับชาวกะโซ่ ชาวกะโซ่ที่อพยพข้ามโขงมาในสมัยรัฐกาลที่ ๓ ได้มาตั้ง
เมืองที่รามราช อยู่จังหวัดนครพนม เมืองกุสุมาลย์มณฑล อยู่จังหวัดสกลนคร
พิธีกรรมโซ่ทั่งบั้ง
เป็นภาษาชาวไทยอีสานเรียกชื่อพิธีกรรมของชาวกะโซ่ คำว่า “โซ่” หมายถึงพวกกะโว่ คำว่า ถั่ง/ทั่ง แปลว่ากระทุ้งหรือกระแทก คำว่า บั้ง หมายถึง บ้องหรือกระบอกไม้ไผ่ โซ่ทั้งบั้งก็คือการใช้กระบอกไม้ไผ่ยาวประมาณ ๓ ปล้องกระทุ้งดินเป็นจังหวะและมีผู้ร่ายรำและร้องรำไปตามจังหวะในพิธีกรรม “ของชาวกะโซ่”
พิธีเหยา
ในการรักษาคนป่วยหรือเรียกขวัญคล้ายๆกับพิธีกรรมของชาวอีสานทั่วไป เพื่อเป็นกำลังใจให้ผู้ป่วยหรือการเรียกขวัญ โดยหมอผีจะทำหน้าที่เป็นล่ามสอบถามวิญญาณของบรรพบุรุษ
ภาษาของชาวกะโซ่
ภาษาที่ชาวกะโซ่ใช้คือ ภาษาโซ่ บางทีก็เรียกว่า “ข่าโซ่” เป็นภาษาหนึ่งของตระกูลออสโตรเอเชียติกกลุ่มภาษามอญ/เขมร สาขากุตุ เช่น
ภาษาโซ่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
มะนะชิจัก กลิ่นตัว Body odour
โบย เมา Drunk
อะฮัก ไอ Cough
ฮูน ดม Sniff
ชื่อไฟล์ : วิสัยทัศน์และพันธกิจ กองวิชาการและแผนงาน
วิสัยทัศน์
"เป็นศูนย์กลางวิชาการ ข่าวสารฉับไว สารสนเทศทันสมัย ปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเป็นธรรม"
พันธกิจ
1. จัดทำแผนพัฒนาเทศบาลและวิจัยเพื่อการพัฒนา
2. จัดทำและให้คำปรึกษาเกี่ยวกับเทศบัญญัติงบประมาณของเทศบาล
3. เผยแพร่ความรู้ทางวิชาการและข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
4. การดำเนินงานและให้คำปรึกษา การตีความกฎหมาย ระเบียบ
ข้อบังคับ ในการปฏิบัติราชการให้ถูกต้องตามอำนาจหน้าที่ของเทศบาล
5. การพัฒนาองค์กรและบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ มีระเบียบวินัย
6. ให้คำปรึกษาด้านกฎหมายและคดีแก่ประชาชน
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: วิสัยทัศน์และพันธกิจ กองวิชาการและแผนงาน
วิสัยทัศน์
"เป็นศูนย์กลางวิชาการ ข่าวสารฉับไว สารสนเทศทันสมัย ปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเป็นธรรม"
พันธกิจ
1. จัดทำแผนพัฒนาเทศบาลและวิจัยเพื่อการพัฒนา
2. จัดทำและให้คำปรึกษาเกี่ยวกับเทศบัญญัติงบประมาณของเทศบาล
3. เผยแพร่ความรู้ทางวิชาการและข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
4. การดำเนินงานและให้คำปรึกษา การตีความกฎหมาย ระเบียบ
ข้อบังคับ ในการปฏิบัติราชการให้ถูกต้องตามอำนาจหน้าที่ของเทศบาล
5. การพัฒนาองค์กรและบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ มีระเบียบวินัย
6. ให้คำปรึกษาด้านกฎหมายและคดีแก่ประชาชน../add_file/วิสัยทัศน์และพันธกิจ กองวิชาการและแผนงาน
วิสัยทัศน์
"เป็นศูนย์กลางวิชาการ ข่าวสารฉับไว สารสนเทศทันสมัย ปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเป็นธรรม"
พันธกิจ
1. จัดทำแผนพัฒนาเทศบาลและวิจัยเพื่อการพัฒนา
2. จัดทำและให้คำปรึกษาเกี่ยวกับเทศบัญญัติงบประมาณของเทศบาล
3. เผยแพร่ความรู้ทางวิชาการและข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
4. การดำเนินงานและให้คำปรึกษา การตีความกฎหมาย ระเบียบ
ข้อบังคับ ในการปฏิบัติราชการให้ถูกต้องตามอำนาจหน้าที่ของเทศบาล
5. การพัฒนาองค์กรและบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ มีระเบียบวินัย
6. ให้คำปรึกษาด้านกฎหมายและคดีแก่ประชาชน
ชื่อไฟล์ : สำหรับโครงสร้างของเทศบาลในรูปแบบนายกเทศมนตรีนั้น มีโครงสร้างหลักที่คล้ายกับเทศบาลในรูปแบบคณะเทศมนตรี แต่ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายบริหารของเทศบาลกับฝ่ายสภาเทศบาลเปลี่ยนแปลงไป กล่าวคือ เทศบาลในรูปแบบนายกเทศมนตรี หัวหน้าฝ่ายบริหาร(นายกเทศมนตรี) และสมาชิกสภาเทศบาล มาจากการเลือกตั้งของประชาชนโดยตรงทั้งคู่ และในขณะเดียวกัน นายกเทศมนตรีสามารถมี “ผู้ช่วย” ได้เช่นกัน แต่ผู้ช่วยของนายกเทศมนตรีในรูปแบบนี้จะไม่เรียกว่า “เทศมนตรี” แต่จะเรียกว่า “รองนายกเทศมนตรี” ซึ่งจำนวนของรองนายกเทศมนตรีจะมีได้เท่าใดขึ้นอยู่กับขนาดของเทศบาลตามที่ได้อธิบายไปแล้วข้างต้น
สำหรับความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายสภาเทศบาล เป็นไปด้วยความห่างเหินเมื่อเปรียบเทียบกับเทศบาลในรูปแบบคณะเทศมนตรี กล่าว คือ ความสัมพันธ์มีสาระสำคัญ ดังนี้
(1) นายกเทศมนตรีจะต้องไม่เป็นสมาชิกสภาเทศบาล
(2) รองนายกเทศมนตรีมาจากการแต่งตั้งของนายกเทศมนตรี
(3) รองนายกเทศมนตรีจะต้องไม่เป็นสมาชิกสภาเทศบาล
จากความสัมพันธ์ทั้ง 3 ด้านดังกล่าว ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างสภาเทศบาลกับฝ่ายบริหารห่างเหินกัน มีการแบ่งแยกฝ่ายบริหารและฝ่ายสภาออกจากกันอย่างชัดเจน และต่างมีสถานะเพียงสถานะเดียวคือถ้าไม่เป็นฝ่ายบริหารก็ต้องเป็นฝ่ายสภาเทศบาล ซึ่งผิดกับเทศบาลในรูปแบบคณะเทศมนตรีที่นายกเทศมนตรีและเทศมนตรีจะมีสถานะเป็นสมาชิกสภาเทศบาลด้วยเช่นกัน
สำหรับสาระสำคัญในประการอื่นของเทศบาลในรูปแบบนายกเทศมนตรีนั้น ผู้เขียนได้อธิบายไปบ้างแล้วในหัวข้อที่แล้ว ในส่วนนี้ผู้เขียนจะขอย้ำถึงความสำคัญในบางประการดังนี้
(1) นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรง
(2) การดำรงอยู่ของนายกเทศมนตรี ไม่ขึ้นอยู่กับสภาเทศบาล
(3) สภาเทศบาลไม่ได้ทำหน้าที่ในการเลือกฝ่ายบริหาร เพราะประชาชนเป็นผู้เลือกฝ่ายบริหารโดยตรง
(4) ในกรณีการรับหลักการหรือไม่รับหลักการแห่งร่างเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีของเทศบาล มีกลไกที่แตกต่างจากเทศบาลในรูปแบบคณะเทศมนตรี ดังที่มาตรา 62 ตรี [10] กำหนดไว้ว่า
“ในกรณีที่สภาเทศบาลไม่รับหลักการแห่งร่างเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือร่างเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดตั้งคณะกรรมการคณะหนึ่งประกอบด้วยกรรมการจำนวนสิบห้าคน เพื่อพิจารณาหาข้อยุติความขัดแย้งโดยแก้ไข ปรับปรุง และยืนยันสาระสำคัญในร่างเทศบัญญัตินั้น ทั้งนี้ ให้ยึดถือหลักเกณฑ์ตามกฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประโยชน์ของท้องถิ่นและประชาชนเป็นสำคัญ
คณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งสภาเทศบาลเสนอจำนวนเจ็ดคน และบุคคลซึ่งเป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกสภาเทศบาลซึ่งนายกเทศมนตรีเสนอจำนวนเจ็ดคน โดยให้แต่งตั้งภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่สภาเทศบาลมีมติไม่รับหลักการ และให้กรรมการทั้งสิบสี่คน ร่วมกันปรึกษาและเสนอบุคคลซึ่งมิได้เป็นนายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี เลขานุการนายกเทศมนตรี ที่ปรึกษานายก เทศมนตรี และมิได้เป็นสมาชิกสภาเทศบาลคนหนึ่ง ทำหน้าที่เป็นประธานกรรมการดังกล่าวภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่กรรมการครบจำนวนสิบสี่คน
ในกรณีที่ไม่สามารเสนอบุคคลที่จะทำหน้าที่เป็นกรรมการหรือประธานกรรมการได้ภายในกำหนดเวลาตามวรรคสอง หรือกรรมการหรือประธานกรรมการไม่ปฏิบัติ หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดตั้งบุคคลซึ่งมิได้เป็นนายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี เลขานุการนายกเทศมนตรี ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี และมิได้เป็นสมาชิกสภาเทศบาลทำหน้าที่กรรมการหรือประธานกรรมการดังกล่าวให้ครบตามจำนวน
ให้คณะกรรมการตามวรรคหนึ่งพิจารณาร่างเทศบัญญัติให้แล้วเสร็จภายในสิบห้าวันนับตั้งแต่วันที่ได้แต่งตั้งประธานกรรมการในคราวแรก แล้วรายงานต่อผู้ว่าราชการจังหวัด ในกรณีที่คณะกรรมการไม่สามารถพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ให้ประธานกรรมการรวบรวมผลการพิจารณาแล้ววินิจฉัยชี้ขาดโดยเร็ว แล้วรายงานต่อผู้ว่าราชการจังหวัด
ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดส่งร่างเทศบัญญัติที่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการหรือประธานคณะกรรมการในวรรคสี่ให้นายกเทศมนตรีโดยเร็ว แล้วให้นายกเทศมนตรีเสนอร่างเทศบัญญัติดังกล่าวต่อสภาเทศบาลตามมาตรา 61 ทวิ ภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้รับร่างเทศบัญญัติจากผู้ว่าราชการจังหวัด หากนายกเทศมนตรีไม่เสนอร่างเทศบัญญัตินั้นต่อสภาเทศบาลภายในเวลาที่กำหนด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดรายงานต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเพื่อสั่งให้นายกเทศมนตรีพ้นจากตำแหน่ง”
เมื่อสภาเทศบาลได้รับร่างเทศบัญญัติจากนายกเทศมนตรีแล้ว ให้สภาเทศบาลพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน หากสภาเทศบาลพิจารณาไม่แล้วเสร็จ หรือไม่เห็นชอบกับร่างเทศบัญญัติดังกล่าว ให้ร่าง??
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์: สำหรับโครงสร้างของเทศบาลในรูปแบบนายกเทศมนตรีนั้น มีโครงสร้างหลักที่คล้ายกับเทศบาลในรูปแบบคณะเทศมนตรี แต่ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายบริหารของเทศบาลกับฝ่ายสภาเทศบาลเปลี่ยนแปลงไป กล่าวคือ เทศบาลในรูปแบบนายกเทศมนตรี หัวหน้าฝ่ายบริหาร(นายกเทศมนตรี) และสมาชิกสภาเทศบาล มาจากการเลือกตั้งของประชาชนโดยตรงทั้งคู่ และในขณะเดียวกัน นายกเทศมนตรีสามารถมี “ผู้ช่วย” ได้เช่นกัน แต่ผู้ช่วยของนายกเทศมนตรีในรูปแบบนี้จะไม่เรียกว่า “เทศมนตรี” แต่จะเรียกว่า “รองนายกเทศมนตรี” ซึ่งจำนวนของรองนายกเทศมนตรีจะมีได้เท่าใดขึ้นอยู่กับขนาดของเทศบาลตามที่ได้อธิบายไปแล้วข้างต้น
สำหรับความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายสภาเทศบาล เป็นไปด้วยความห่างเหินเมื่อเปรียบเทียบกับเทศบาลในรูปแบบคณะเทศมนตรี กล่าว คือ ความสัมพันธ์มีสาระสำคัญ ดังนี้
(1) นายกเทศมนตรีจะต้องไม่เป็นสมาชิกสภาเทศบาล
(2) รองนายกเทศมนตรีมาจากการแต่งตั้งของนายกเทศมนตรี
(3) รองนายกเทศมนตรีจะต้องไม่เป็นสมาชิกสภาเทศบาล
จากความสัมพันธ์ทั้ง 3 ด้านดังกล่าว ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างสภาเทศบาลกับฝ่ายบริหารห่างเหินกัน มีการแบ่งแยกฝ่ายบริหารและฝ่ายสภาออกจากกันอย่างชัดเจน และต่างมีสถานะเพียงสถานะเดียวคือถ้าไม่เป็นฝ่ายบริหารก็ต้องเป็นฝ่ายสภาเทศบาล ซึ่งผิดกับเทศบาลในรูปแบบคณะเทศมนตรีที่นายกเทศมนตรีและเทศมนตรีจะมีสถานะเป็นสมาชิกสภาเทศบาลด้วยเช่นกัน
สำหรับสาระสำคัญในประการอื่นของเทศบาลในรูปแบบนายกเทศมนตรีนั้น ผู้เขียนได้อธิบายไปบ้างแล้วในหัวข้อที่แล้ว ในส่วนนี้ผู้เขียนจะขอย้ำถึงความสำคัญในบางประการดังนี้
(1) นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรง
(2) การดำรงอยู่ของนายกเทศมนตรี ไม่ขึ้นอยู่กับสภาเทศบาล
(3) สภาเทศบาลไม่ได้ทำหน้าที่ในการเลือกฝ่ายบริหาร เพราะประชาชนเป็นผู้เลือกฝ่ายบริหารโดยตรง
(4) ในกรณีการรับหลักการหรือไม่รับหลักการแห่งร่างเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีของเทศบาล มีกลไกที่แตกต่างจากเทศบาลในรูปแบบคณะเทศมนตรี ดังที่มาตรา 62 ตรี [10] กำหนดไว้ว่า
“ในกรณีที่สภาเทศบาลไม่รับหลักการแห่งร่างเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือร่างเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดตั้งคณะกรรมการคณะหนึ่งประกอบด้วยกรรมการจำนวนสิบห้าคน เพื่อพิจารณาหาข้อยุติความขัดแย้งโดยแก้ไข ปรับปรุง และยืนยันสาระสำคัญในร่างเทศบัญญัตินั้น ทั้งนี้ ให้ยึดถือหลักเกณฑ์ตามกฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประโยชน์ของท้องถิ่นและประชาชนเป็นสำคัญ
คณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งสภาเทศบาลเสนอจำนวนเจ็ดคน และบุคคลซึ่งเป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกสภาเทศบาลซึ่งนายกเทศมนตรีเสนอจำนวนเจ็ดคน โดยให้แต่งตั้งภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่สภาเทศบาลมีมติไม่รับหลักการ และให้กรรมการทั้งสิบสี่คน ร่วมกันปรึกษาและเสนอบุคคลซึ่งมิได้เป็นนายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี เลขานุการนายกเทศมนตรี ที่ปรึกษานายก เทศมนตรี และมิได้เป็นสมาชิกสภาเทศบาลคนหนึ่ง ทำหน้าที่เป็นประธานกรรมการดังกล่าวภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่กรรมการครบจำนวนสิบสี่คน
ในกรณีที่ไม่สามารเสนอบุคคลที่จะทำหน้าที่เป็นกรรมการหรือประธานกรรมการได้ภายในกำหนดเวลาตามวรรคสอง หรือกรรมการหรือประธานกรรมการไม่ปฏิบัติ หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดตั้งบุคคลซึ่งมิได้เป็นนายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี เลขานุการนายกเทศมนตรี ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี และมิได้เป็นสมาชิกสภาเทศบาลทำหน้าที่กรรมการหรือประธานกรรมการดังกล่าวให้ครบตามจำนวน
ให้คณะกรรมการตามวรรคหนึ่งพิจารณาร่างเทศบัญญัติให้แล้วเสร็จภายในสิบห้าวันนับตั้งแต่วันที่ได้แต่งตั้งประธานกรรมการในคราวแรก แล้วรายงานต่อผู้ว่าราชการจังหวัด ในกรณีที่คณะกรรมการไม่สามารถพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ให้ประธานกรรมการรวบรวมผลการพิจารณาแล้ววินิจฉัยชี้ขาดโดยเร็ว แล้วรายงานต่อผู้ว่าราชการจังหวัด
ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดส่งร่างเทศบัญญัติที่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการหรือประธานคณะกรรมการในวรรคสี่ให้นายกเทศมนตรีโดยเร็ว แล้วให้นายกเทศมนตรีเสนอร่างเทศบัญญัติดังกล่าวต่อสภาเทศบาลตามมาตรา 61 ทวิ ภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้รับร่างเทศบัญญัติจากผู้ว่าราชการจังหวัด หากนายกเทศมนตรีไม่เสนอร่างเทศบัญญัตินั้นต่อสภาเทศบาลภายในเวลาที่กำหนด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดรายงานต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเพื่อสั่งให้นายกเทศมนตรีพ้นจากตำแหน่ง”
เมื่อสภาเทศบาลได้รับร่างเทศบัญญัติจากนายกเทศมนตรีแล้ว ให้สภาเทศบาลพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน หากสภาเทศบาลพิจารณาไม่แล้วเสร็จ หรือไม่เห็นชอบกับร่างเทศบัญญัติดังกล่าว ให้ร่าง??../add_file/สำหรับโครงสร้างของเทศบาลในรูปแบบนายกเทศมนตรีนั้น มีโครงสร้างหลักที่คล้ายกับเทศบาลในรูปแบบคณะเทศมนตรี แต่ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายบริหารของเทศบาลกับฝ่ายสภาเทศบาลเปลี่ยนแปลงไป กล่าวคือ เทศบาลในรูปแบบนายกเทศมนตรี หัวหน้าฝ่ายบริหาร(นายกเทศมนตรี) และสมาชิกสภาเทศบาล มาจากการเลือกตั้งของประชาชนโดยตรงทั้งคู่ และในขณะเดียวกัน นายกเทศมนตรีสามารถมี “ผู้ช่วย” ได้เช่นกัน แต่ผู้ช่วยของนายกเทศมนตรีในรูปแบบนี้จะไม่เรียกว่า “เทศมนตรี” แต่จะเรียกว่า “รองนายกเทศมนตรี” ซึ่งจำนวนของรองนายกเทศมนตรีจะมีได้เท่าใดขึ้นอยู่กับขนาดของเทศบาลตามที่ได้อธิบายไปแล้วข้างต้น
สำหรับความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายสภาเทศบาล เป็นไปด้วยความห่างเหินเมื่อเปรียบเทียบกับเทศบาลในรูปแบบคณะเทศมนตรี กล่าว คือ ความสัมพันธ์มีสาระสำคัญ ดังนี้
(1) นายกเทศมนตรีจะต้องไม่เป็นสมาชิกสภาเทศบาล
(2) รองนายกเทศมนตรีมาจากการแต่งตั้งของนายกเทศมนตรี
(3) รองนายกเทศมนตรีจะต้องไม่เป็นสมาชิกสภาเทศบาล
จากความสัมพันธ์ทั้ง 3 ด้านดังกล่าว ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างสภาเทศบาลกับฝ่ายบริหารห่างเหินกัน มีการแบ่งแยกฝ่ายบริหารและฝ่ายสภาออกจากกันอย่างชัดเจน และต่างมีสถานะเพียงสถานะเดียวคือถ้าไม่เป็นฝ่ายบริหารก็ต้องเป็นฝ่ายสภาเทศบาล ซึ่งผิดกับเทศบาลในรูปแบบคณะเทศมนตรีที่นายกเทศมนตรีและเทศมนตรีจะมีสถานะเป็นสมาชิกสภาเทศบาลด้วยเช่นกัน
สำหรับสาระสำคัญในประการอื่นของเทศบาลในรูปแบบนายกเทศมนตรีนั้น ผู้เขียนได้อธิบายไปบ้างแล้วในหัวข้อที่แล้ว ในส่วนนี้ผู้เขียนจะขอย้ำถึงความสำคัญในบางประการดังนี้
(1) นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรง
(2) การดำรงอยู่ของนายกเทศมนตรี ไม่ขึ้นอยู่กับสภาเทศบาล
(3) สภาเทศบาลไม่ได้ทำหน้าที่ในการเลือกฝ่ายบริหาร เพราะประชาชนเป็นผู้เลือกฝ่ายบริหารโดยตรง
(4) ในกรณีการรับหลักการหรือไม่รับหลักการแห่งร่างเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีของเทศบาล มีกลไกที่แตกต่างจากเทศบาลในรูปแบบคณะเทศมนตรี ดังที่มาตรา 62 ตรี [10] กำหนดไว้ว่า
“ในกรณีที่สภาเทศบาลไม่รับหลักการแห่งร่างเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือร่างเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดตั้งคณะกรรมการคณะหนึ่งประกอบด้วยกรรมการจำนวนสิบห้าคน เพื่อพิจารณาหาข้อยุติความขัดแย้งโดยแก้ไข ปรับปรุง และยืนยันสาระสำคัญในร่างเทศบัญญัตินั้น ทั้งนี้ ให้ยึดถือหลักเกณฑ์ตามกฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประโยชน์ของท้องถิ่นและประชาชนเป็นสำคัญ
คณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งสภาเทศบาลเสนอจำนวนเจ็ดคน และบุคคลซึ่งเป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกสภาเทศบาลซึ่งนายกเทศมนตรีเสนอจำนวนเจ็ดคน โดยให้แต่งตั้งภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่สภาเทศบาลมีมติไม่รับหลักการ และให้กรรมการทั้งสิบสี่คน ร่วมกันปรึกษาและเสนอบุคคลซึ่งมิได้เป็นนายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี เลขานุการนายกเทศมนตรี ที่ปรึกษานายก เทศมนตรี และมิได้เป็นสมาชิกสภาเทศบาลคนหนึ่ง ทำหน้าที่เป็นประธานกรรมการดังกล่าวภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่กรรมการครบจำนวนสิบสี่คน
ในกรณีที่ไม่สามารเสนอบุคคลที่จะทำหน้าที่เป็นกรรมการหรือประธานกรรมการได้ภายในกำหนดเวลาตามวรรคสอง หรือกรรมการหรือประธานกรรมการไม่ปฏิบัติ หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดตั้งบุคคลซึ่งมิได้เป็นนายกเทศมนตรี รองนายกเทศมนตรี เลขานุการนายกเทศมนตรี ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี และมิได้เป็นสมาชิกสภาเทศบาลทำหน้าที่กรรมการหรือประธานกรรมการดังกล่าวให้ครบตามจำนวน
ให้คณะกรรมการตามวรรคหนึ่งพิจารณาร่างเทศบัญญัติให้แล้วเสร็จภายในสิบห้าวันนับตั้งแต่วันที่ได้แต่งตั้งประธานกรรมการในคราวแรก แล้วรายงานต่อผู้ว่าราชการจังหวัด ในกรณีที่คณะกรรมการไม่สามารถพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ให้ประธานกรรมการรวบรวมผลการพิจารณาแล้ววินิจฉัยชี้ขาดโดยเร็ว แล้วรายงานต่อผู้ว่าราชการจังหวัด
ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดส่งร่างเทศบัญญัติที่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการหรือประธานคณะกรรมการในวรรคสี่ให้นายกเทศมนตรีโดยเร็ว แล้วให้นายกเทศมนตรีเสนอร่างเทศบัญญัติดังกล่าวต่อสภาเทศบาลตามมาตรา 61 ทวิ ภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้รับร่างเทศบัญญัติจากผู้ว่าราชการจังหวัด หากนายกเทศมนตรีไม่เสนอร่างเทศบัญญัตินั้นต่อสภาเทศบาลภายในเวลาที่กำหนด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดรายงานต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเพื่อสั่งให้นายกเทศมนตรีพ้นจากตำแหน่ง”
เมื่อสภาเทศบาลได้รับร่างเทศบัญญัติจากนายกเทศมนตรีแล้ว ให้สภาเทศบาลพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน หากสภาเทศบาลพิจารณาไม่แล้วเสร็จ หรือไม่เห็นชอบกับร่างเทศบัญญัติดังกล่าว ให้ร่าง??
ชื่อไฟล์ :
ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซต์ของเรา
ไม่ว่าท่านจะเคยได้ยินอะไรเกี่ยวกับการจัดทำเว็บไซต์...
เราพร้อมที่จะพัฒนาให้ระบบทำงานได้ดี และรวดเร็วง่ายสำหรับทุกคน
file_download
ดาว์นโหลดไฟล์นี้

ชื่อไฟล์:
ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซต์ของเรา
ไม่ว่าท่านจะเคยได้ยินอะไรเกี่ยวกับการจัดทำเว็บไซต์...
เราพร้อมที่จะพัฒนาให้ระบบทำงานได้ดี และรวดเร็วง่ายสำหรับทุกคน
../add_file/
ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซต์ของเรา
ไม่ว่าท่านจะเคยได้ยินอะไรเกี่ยวกับการจัดทำเว็บไซต์...
เราพร้อมที่จะพัฒนาให้ระบบทำงานได้ดี และรวดเร็วง่ายสำหรับทุกคน
ชื่อไฟล์ :
ข้อมูลสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
หน่วยงานภายใน
ข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
หน่วยงานภายใน
ข้อมูลข่าวสาร
ชื่อไฟล์: รอปรับปรุงข้อมูล...
../add_file/ รอปรับปรุงข้อมูล...
: อีเมลล์ :
เบอร์โทร :
การดำเนินการด้านการบริหารงานบุคคล
- การวางแผนกำลังคน พิจารณาจัดระเบียบงานและโครงสร้าง การแบ่งส่วนราชการของ เทศบาลฯ การปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง การควบคุมการใช้อัตรากำลังของพนักงานส่วนตำบล
- การสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง การเลื่อนตำแหน่ง การประเมินบุคคลและผลงาน การโอน ย้าย การออกจากราชการ และการประเมินผลการปฏิบัติงาน
- การดำเนินการด้านทะเบียนประวัติและบำเหน็จบำนาญ การลาประเภทต่าง ๆ การขอพระราชทานเครื่องราชฯ การออกหนังสือสำคัญ และหนังสือรับรองเพื่อสิทธิต่างๆ การขอบำเหน็จบำนาญ เงินทำขวัญ เงินช่วยเหลือ
- การจัดทำแผนกลยุทธของ เทศบาลฯ และแผนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ การตรวจสอบสืบสวนหาข้อเท็จจริง ร้องเรียน แจ้งเบาะแส ดำเนินการทางวินัยพิจารณาดำเนินการเกี่ยวกับอุทธรณ์ การวางแผนเสริมสร้างและปรับปรุงระบบงานวินัย การรักาาวินัยและจรรยาของพนักงานส่วนตำบลให้สดอคล้องกับประกาศคุณะรรม จริยธรรม และจรรยาวิชาชนองค์กร
- การดำเนินการด้านการฝึกอบรม
ชื่อไฟล์: อีเมลล์ :
เบอร์โทร :
การดำเนินการด้านการบริหารงานบุคคล
- การวางแผนกำลังคน พิจารณาจัดระเบียบงานและโครงสร้าง การแบ่งส่วนราชการของ เทศบาลฯ การปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง การควบคุมการใช้อัตรากำลังของพนักงานส่วนตำบล
- การสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง การเลื่อนตำแหน่ง การประเมินบุคคลและผลงาน การโอน ย้าย การออกจากราชการ และการประเมินผลการปฏิบัติงาน
- การดำเนินการด้านทะเบียนประวัติและบำเหน็จบำนาญ การลาประเภทต่าง ๆ การขอพระราชทานเครื่องราชฯ การออกหนังสือสำคัญ และหนังสือรับรองเพื่อสิทธิต่างๆ การขอบำเหน็จบำนาญ เงินทำขวัญ เงินช่วยเหลือ
- การจัดทำแผนกลยุทธของ เทศบาลฯ และแผนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ การตรวจสอบสืบสวนหาข้อเท็จจริง ร้องเรียน แจ้งเบาะแส ดำเนินการทางวินัยพิจารณาดำเนินการเกี่ยวกับอุทธรณ์ การวางแผนเสริมสร้างและปรับปรุงระบบงานวินัย การรักาาวินัยและจรรยาของพนักงานส่วนตำบลให้สดอคล้องกับประกาศคุณะรรม จริยธรรม และจรรยาวิชาชนองค์กร
- การดำเนินการด้านการฝึกอบรม../add_file/อีเมลล์ :
เบอร์โทร :
การดำเนินการด้านการบริหารงานบุคคล
- การวางแผนกำลังคน พิจารณาจัดระเบียบงานและโครงสร้าง การแบ่งส่วนราชการของ เทศบาลฯ การปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง การควบคุมการใช้อัตรากำลังของพนักงานส่วนตำบล
- การสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง การเลื่อนตำแหน่ง การประเมินบุคคลและผลงาน การโอน ย้าย การออกจากราชการ และการประเมินผลการปฏิบัติงาน
- การดำเนินการด้านทะเบียนประวัติและบำเหน็จบำนาญ การลาประเภทต่าง ๆ การขอพระราชทานเครื่องราชฯ การออกหนังสือสำคัญ และหนังสือรับรองเพื่อสิทธิต่างๆ การขอบำเหน็จบำนาญ เงินทำขวัญ เงินช่วยเหลือ
- การจัดทำแผนกลยุทธของ เทศบาลฯ และแผนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ การตรวจสอบสืบสวนหาข้อเท็จจริง ร้องเรียน แจ้งเบาะแส ดำเนินการทางวินัยพิจารณาดำเนินการเกี่ยวกับอุทธรณ์ การวางแผนเสริมสร้างและปรับปรุงระบบงานวินัย การรักาาวินัยและจรรยาของพนักงานส่วนตำบลให้สดอคล้องกับประกาศคุณะรรม จริยธรรม และจรรยาวิชาชนองค์กร
- การดำเนินการด้านการฝึกอบรม